จงเพิ่มเติมความเชื่อ
ใน 2เปโตร 1.5-11 มีรายการที่บอกคุณสมบัติของคริสเตียนไว้หลายอย่างซึ่งเป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่า "บันไดแห่งการเจริญเติบโตขึ้นในพระคุณของคริสเตียน" มีทั้งหมดแปดขั้นด้วยกัน ซึ่งเมื่อรวมกันแล้วจะเป็นกำลังฝ่ายวิญญาณจิตอันเข้มแข็ง บุคคลที่มีคุณสมบัติครบทั้งแปดประการเป็นบุคคลที่บริบูรณ์แล้ว ถึงแม้ว่าตนเองจะยังเป็นมนุษย์ที่ขาดตกบกพร่องอยู่ก็ตาม ผู้ที่เพียบพร้อมด้วยคุณสมบัติเหล่านี้เป็นผู้ที่จะรับส่วนในสภาพขององค์พระผู้เป็นเจ้า (2เปโตร 1.4) ผู้ที่จะสามารถเพิ่มคุณสมบัติต่าง ๆ ได้จะต้องเป็นผู้ที่อุตส่าห์จนสุดกำลัง คือขยันหมั่นเพียรเพื่อเพิ่มคุณสมบัติเหล่านี้ในชีวิตของเรา (2เปโตร 1.5) เพราะฉะนั้นเราจึงไม่ควรเสียเวลา กำลัง และเงินโดยไร้ประโยชน์
โปรดสังเกตว่า คุณสมบัติเหล่านี้จะต้องบริบูรณ์อยู่ในใจของเรา (2เปโตร 1.8) คำว่า "บริบูรณ์" หมายความว่า "เต็มเปี่ยม" เน้นถึงการใช้ชีวิตที่เต็มบริบูรณ์ ถ้ามีใจดังกล่าว ความคิดเช่นต่อไปนี้จะเป็นอย่างไร "ข้าพเจ้าทำน้อย ถวายน้อยที่สุดเท่าที่จะน้อยได้" หรือ "ข้าพเจ้าไปร่วมประชุมนมัสการน้อยที่สุดเท่าที่จะน้อยได้"
ความสำคัญของการเสริมสร้างคุณสมบัติเหล่านี้มีมากเหลือเกิน จำเป็นต้องปลูกฝังให้ได้ ในทางผลบวกจะได้รับอะไรบ้าง (2เปโตร 1.8)
บทที่ 2
บทที่2
ถ้าเราจะปลูกฝังคุณสมบัติเหล่านั้น
(1) เราจะเกิดผลบริบูรณ์
(2) การทรงเรียกและเลือกเราจะแน่นอนมากขึ้น
(3) ป้องกันมิให้เราสะดุด
(4) เราจะได้มีสิทธิเข้าในนิตยภูมิของพระเยซู
ในทางลบบ้าง ถ้าล้มเหลวจะเป็นอย่างไร?
(1) ถ้าเราขาดคุณสมบัติเหล่านั้น จะเป็นคนตาบอดตาสั้น (2เปโตร 1.9)
(2) เรามักลืมการซึ่งชำระความผิดของตนเมื่อก่อนเสียแล้ว (2เปโตร 1.9) เป็นการย้อนหลังกลับไปมีชีวิตเก่า ๆ เหมือนเดิม มิใช่มีชีวิตตามชีวิตใหม่ที่แท้จริง โปรดศึกษาดูคุณสมบัติเหล่านี้ทีละอย่าง ดังต่อไปนี้
1. ความเชื่อ
(1) ความเชื่อในพระเจ้า (เฮ็บราย 11.1) ตามความหมายของความเชื่อตามแบบพระคัมภีร์ มีสามประการด้วยกัน คือ
(ก) ความเชื่อในการยอมรับว่ามีพระเจ้าผู้ทรงพระชนม์อยู่ เฮ็บราย 11.6
(ข) ไว้วางใจในพระสัญญาของพระองค์ด้วยความเคารพยำเกรง
(ค) เชื่อฟังคำสั่งของพระองค์ทั้งสิ้น
(2) ความเชื่อในพระคริสต์ (โยฮัน 20.30-31) เราต้องเชื่อว่าพระเยซูคริสต์เป็นผู้ไถ่จิตวิญญาณของเราให้รอด เป็นตัวอย่างในความประพฤติของเรา เป็นผู้นำทางเราทุก ๆ ก้าว เป็นผู้ป้องกันและผู้อุปถัมภ์ชีวิตของเรา และเป็นผู้ที่จะทรงพิพากษาจิตวิญญาณของเรา
(3) ความเชื่อในพระคัมภีร์ (2ติโมเธียว 3.16-17) เราต้องเชื่อว่าพระคัมภีร์เป็นพระคำที่ได้รับการดลใจจากพระเจ้า เป็นอำนาจเด็ดขาดของพระเจ้า เป็นโคมสำหรับส่องทางแห่งชีวิต เป็นมาตรฐานที่จะใช้พิพากษาในวันสุดท้าย
(4) ความเชื่อในผู้อื่น (กิจการ 9.26-28) คิดถึงความเชื่อพระเยซูทรงมีต่อมนุษย์ เมื่อพระองค์ได้มอบภาระให้แก่มนุษย์เช่นอัครสาวก ให้ทำการแทนก่อนจากโลกนี้ไป คนหนึ่งในจำพวกนั้นก็ทรยศต่อพระองค์ อีกคนหนึ่งสงสัย และครั้งหนึ่งพวกเขาทั้งหมดได้ละทิ้งพระองค์
(5) ความเชื่อในตัวเราเอง (ฟิลิปปอย 4.13) "ข้าพเจ้ากระทำทุกสิ่งได้โดยพระเยซูคริสต์" คริสเตียนจะต้องมีความเชื่อมั่นสูงในการที่จะรู้ว่าทำการใหญ่โดยพระคริสต์ได้ โปรดหลีกเลี่ยงการถ่อมสุภาพอันจอมปลอมที่ว่า "ข้าพเจ้าทำไม่ได้" "ข้าพเจ้าไม่มีความสามารถ" หรือ "ข้าพเจ้าเป็นคนไม่สำคัญ"
2. ความดี
(1) ปัจจุบัน มีความหมายว่า "บริสุทธิ์" เราจะต้องเป็นผู้ที่มีความบริสุทธิ์ในใจ ทั้งใจ ความคิดและเจตนา (มัดธาย 5.8) วาจาของเราต้องบริสุทธิ์ เราต้องเป็นผู้บริสุทธิ์จริง ๆ
(2) แต่ความหมายที่ใช้ใน 2เปโตร 1.5 คำนี้หมายถึงความกล้าหาญด้านศีลธรรม จงให้เรามีความกล้าหาญเสมอที่จะ
(ก) เปิดเผยให้ผู้อื่นรู้ว่าเราเป็นคริสเตียน
(ข) อดทนต่อการถูกข่มเหง
(ค) พูดเพื่อพระเยซู
(ง) แบกภาระของเราเอง
(จ) คัดค้านฝูงชนถ้าจำเป็น
(ฉ) ตายเพื่อพระเยซูคริสต์ ถ้าจำเป็น "กล้าหาญอย่างดานิเอล"
3. ความรู้
(1) ความรู้เป็นสิ่งสำคัญมาก (โฮเซอา 4.6)
(ก) ความรู้เกี่ยวกับความจริงจะทำให้เราทั้งหลายเป็นไท
(ข) โดยความรู้นั้นเอง มนุษย์ได้รู้จักพระเจ้า
(ค) ความรู้เพิ่มเติมให้เรามีกำลังฝ่ายวิญญาณจิต
(ง) ความรู้ทำให้เพิ่มพูนพระคุณและสันติสุข
(จ) เราหลบหนีบรรยากาศพิษของโลกนี้ได้โดยความรู้
(ฉ) ความรู้เป็นตัวจักรสำคัญที่จะต่อต้านไม่ให้ทำบาป
(2) ความโง่เขลาเบาปัญญาเพราะขาดความรู้ ความโง่ได้ตรึงพระเยซู (ลูกา 23.34) อยู่ห่างชีวิตซึ่งมาจากพระเจ้า นำเราให้ตามใจปรารถนาของตนเอง อุตริตั้งความชอบธรรมของตนเองขึ้นทำให้คนหลงผิด (มัดธาย 22.29, 2เปโตร 3.1-9, กิจการ 17.29-30) ทำให้คนร้อนรนนอกลู่นอกทาง ทำให้คนเปลี่ยนแปลงพระคำของพระเจ้าจนถึงความพินาศ ยับยั้งมิให้คนเป็นคริสเตียนตามพระคัมภีร์โดยแท้จริง และจะทำให้คนไปสู่ความพินาศชั่วนิรันดร์
(3) เราจะเพิ่มเติมความรู้แห่งพระคำของพระเจ้าอย่างไร? สามารถเพิ่มความรู้ได้โดยการหมั่นศึกษาเป็นการส่วนตัว โดยการเข้าศึกษาในชั้นและมานมัสการสม่ำเสมอ โดยศึกษาหาความรู้จากหนังสือต่าง ๆ
4. ความเหนี่ยวรั้งตน
(1) นิยามของการเหนี่ยวรั้งตน คือ การบังคับตนเอง เอาชนะใจตนเองได้ การควบคุมตนเอง คุมสติ ยับยั้ง ไม่ปล่อยให้สำเร็จตามใจปรารถนา
(2) ความสำคัญของการเหนี่ยวรั้งตน
(ก) ผู้ที่มีคุณสมบัติเหนี่ยวรั้งตนได้ สามารถรับใช้ในทางที่สำคัญเหล่านี้ใหญ่มากขึ้น
(1) เราจะเกิดผลบริบูรณ์
(2) การทรงเรียกและเลือกเราจะแน่นอนมากขึ้น
(3) ป้องกันมิให้เราสะดุด
(4) เราจะได้มีสิทธิเข้าในนิตยภูมิของพระเยซู
ในทางลบบ้าง ถ้าล้มเหลวจะเป็นอย่างไร?
(1) ถ้าเราขาดคุณสมบัติเหล่านั้น จะเป็นคนตาบอดตาสั้น (2เปโตร 1.9)
(2) เรามักลืมการซึ่งชำระความผิดของตนเมื่อก่อนเสียแล้ว (2เปโตร 1.9) เป็นการย้อนหลังกลับไปมีชีวิตเก่า ๆ เหมือนเดิม มิใช่มีชีวิตตามชีวิตใหม่ที่แท้จริง โปรดศึกษาดูคุณสมบัติเหล่านี้ทีละอย่าง ดังต่อไปนี้
1. ความเชื่อ
(1) ความเชื่อในพระเจ้า (เฮ็บราย 11.1) ตามความหมายของความเชื่อตามแบบพระคัมภีร์ มีสามประการด้วยกัน คือ
(ก) ความเชื่อในการยอมรับว่ามีพระเจ้าผู้ทรงพระชนม์อยู่ เฮ็บราย 11.6
(ข) ไว้วางใจในพระสัญญาของพระองค์ด้วยความเคารพยำเกรง
(ค) เชื่อฟังคำสั่งของพระองค์ทั้งสิ้น
(2) ความเชื่อในพระคริสต์ (โยฮัน 20.30-31) เราต้องเชื่อว่าพระเยซูคริสต์เป็นผู้ไถ่จิตวิญญาณของเราให้รอด เป็นตัวอย่างในความประพฤติของเรา เป็นผู้นำทางเราทุก ๆ ก้าว เป็นผู้ป้องกันและผู้อุปถัมภ์ชีวิตของเรา และเป็นผู้ที่จะทรงพิพากษาจิตวิญญาณของเรา
(3) ความเชื่อในพระคัมภีร์ (2ติโมเธียว 3.16-17) เราต้องเชื่อว่าพระคัมภีร์เป็นพระคำที่ได้รับการดลใจจากพระเจ้า เป็นอำนาจเด็ดขาดของพระเจ้า เป็นโคมสำหรับส่องทางแห่งชีวิต เป็นมาตรฐานที่จะใช้พิพากษาในวันสุดท้าย
(4) ความเชื่อในผู้อื่น (กิจการ 9.26-28) คิดถึงความเชื่อพระเยซูทรงมีต่อมนุษย์ เมื่อพระองค์ได้มอบภาระให้แก่มนุษย์เช่นอัครสาวก ให้ทำการแทนก่อนจากโลกนี้ไป คนหนึ่งในจำพวกนั้นก็ทรยศต่อพระองค์ อีกคนหนึ่งสงสัย และครั้งหนึ่งพวกเขาทั้งหมดได้ละทิ้งพระองค์
(5) ความเชื่อในตัวเราเอง (ฟิลิปปอย 4.13) "ข้าพเจ้ากระทำทุกสิ่งได้โดยพระเยซูคริสต์" คริสเตียนจะต้องมีความเชื่อมั่นสูงในการที่จะรู้ว่าทำการใหญ่โดยพระคริสต์ได้ โปรดหลีกเลี่ยงการถ่อมสุภาพอันจอมปลอมที่ว่า "ข้าพเจ้าทำไม่ได้" "ข้าพเจ้าไม่มีความสามารถ" หรือ "ข้าพเจ้าเป็นคนไม่สำคัญ"
2. ความดี
(1) ปัจจุบัน มีความหมายว่า "บริสุทธิ์" เราจะต้องเป็นผู้ที่มีความบริสุทธิ์ในใจ ทั้งใจ ความคิดและเจตนา (มัดธาย 5.8) วาจาของเราต้องบริสุทธิ์ เราต้องเป็นผู้บริสุทธิ์จริง ๆ
(2) แต่ความหมายที่ใช้ใน 2เปโตร 1.5 คำนี้หมายถึงความกล้าหาญด้านศีลธรรม จงให้เรามีความกล้าหาญเสมอที่จะ
(ก) เปิดเผยให้ผู้อื่นรู้ว่าเราเป็นคริสเตียน
(ข) อดทนต่อการถูกข่มเหง
(ค) พูดเพื่อพระเยซู
(ง) แบกภาระของเราเอง
(จ) คัดค้านฝูงชนถ้าจำเป็น
(ฉ) ตายเพื่อพระเยซูคริสต์ ถ้าจำเป็น "กล้าหาญอย่างดานิเอล"
3. ความรู้
(1) ความรู้เป็นสิ่งสำคัญมาก (โฮเซอา 4.6)
(ก) ความรู้เกี่ยวกับความจริงจะทำให้เราทั้งหลายเป็นไท
(ข) โดยความรู้นั้นเอง มนุษย์ได้รู้จักพระเจ้า
(ค) ความรู้เพิ่มเติมให้เรามีกำลังฝ่ายวิญญาณจิต
(ง) ความรู้ทำให้เพิ่มพูนพระคุณและสันติสุข
(จ) เราหลบหนีบรรยากาศพิษของโลกนี้ได้โดยความรู้
(ฉ) ความรู้เป็นตัวจักรสำคัญที่จะต่อต้านไม่ให้ทำบาป
(2) ความโง่เขลาเบาปัญญาเพราะขาดความรู้ ความโง่ได้ตรึงพระเยซู (ลูกา 23.34) อยู่ห่างชีวิตซึ่งมาจากพระเจ้า นำเราให้ตามใจปรารถนาของตนเอง อุตริตั้งความชอบธรรมของตนเองขึ้นทำให้คนหลงผิด (มัดธาย 22.29, 2เปโตร 3.1-9, กิจการ 17.29-30) ทำให้คนร้อนรนนอกลู่นอกทาง ทำให้คนเปลี่ยนแปลงพระคำของพระเจ้าจนถึงความพินาศ ยับยั้งมิให้คนเป็นคริสเตียนตามพระคัมภีร์โดยแท้จริง และจะทำให้คนไปสู่ความพินาศชั่วนิรันดร์
(3) เราจะเพิ่มเติมความรู้แห่งพระคำของพระเจ้าอย่างไร? สามารถเพิ่มความรู้ได้โดยการหมั่นศึกษาเป็นการส่วนตัว โดยการเข้าศึกษาในชั้นและมานมัสการสม่ำเสมอ โดยศึกษาหาความรู้จากหนังสือต่าง ๆ
4. ความเหนี่ยวรั้งตน
(1) นิยามของการเหนี่ยวรั้งตน คือ การบังคับตนเอง เอาชนะใจตนเองได้ การควบคุมตนเอง คุมสติ ยับยั้ง ไม่ปล่อยให้สำเร็จตามใจปรารถนา
(2) ความสำคัญของการเหนี่ยวรั้งตน
(ก) ผู้ที่มีคุณสมบัติเหนี่ยวรั้งตนได้ สามารถรับใช้ในทางที่สำคัญเหล่านี้ใหญ่มากขึ้น
(ติโต 1.8)
(ข) เป็นผลของพระวิญญาณประการหนึ่ง ฆะลาเตีย 5.22-23
(ค) ทำให้ระวังรักษาตัวจนถึงวันที่จะได้รับรางวัล 1โกรินโธ 9.25-27
(3) แง่ที่การเหนี่ยวรั้งตนควรเป็นหลักปฏิบัติ เมื่อบุคคลโกรธ (เอเฟโซ 4.26) การใช้ลิ้น ผู้ที่ ขาดความสามารถในการเหนี่ยวรั้งตน ทำให้เป็นผู้ติดเหล้า, ไร้ศีลธรรม, คุมสติไม่ได้, คำพูดที่โกรธรวดเร็ว การกระทำที่รวดเร็ว
(4) จะปลูกฝังการเหนี่ยวรั้งตนได้อย่างไร?
(ก) ระงับให้อยู่ใต้บังคับ 1โกรินโธ 9.27
(ข) ดูการเหนี่ยวรั้งตนสัมพันธ์กับการพิพากษา กิจการ 24.25
(ค) ถ่อมตนเองลงจากบัลลังก์ มัดธาย 16.24
(ง) เชิญพระเยซูนั่งบนบัลลังก์แทน ฆะลาเตีย 2.20
(จ) คิดถึงผู้อื่น 1โกรินโธ 10.23-33
5. ขันตี
(1) ขันตี เป็นสิ่งจำเป็นของเรา (1ติโมเธียว 6.11)
(2) นิยามของคำว่า ขันตี หรือ ความอดทน เวปสเตอร์ให้คำจำกัดความว่า "ทนต่อการเจ็บปวด หรือทนต่อความลำบากอย่างสงบ หรือโดยไม่บ่น แสดงความอดทนภายใต้สภาวะความกดดัน ไม่ฉุนเฉียวหรือโพล่ง มั่นคงแม้ฝ่ายตรงข้ามจะต่อสู้หรือมีศัตรู มีความสามารถหรือเต็มใจที่จะอดทนได้" เราพบว่าพระเจ้าทรงเป็นตัวอย่างที่ดีในการอดทน พระเยซู (โรม 2.4, ยาโกโบ 5.11) ผู้พยากรณ์, โยบ, เปาโล, โยฮัน และคริสตจักรทั้งหลายในพระคัมภีร์ใหม่
(3) แง่ต่าง ๆ ที่เราต้องใช้ขันตีเป็นหลักปฏิบัติในชีวิตประจำวัน คือมีอะไรบ้าง ต้องอดทนต่อตนเอง (ลูกา 21.19) ในบ้านของเรา ในการนำวิญญาณ ในการถูกข่มเหง ในการลำบาก ในการอธิษฐาน และในการรอการเสด็จกลับมาของพระเยซู
6. ธรรม
(1) นี่หมายความว่า "เหมือนกับพระเจ้า" พระเยซูเป็นตัวแทนของพระเจ้า การเห็นพระเยซูก็เท่ากับเห็นพระเจ้า (โยฮัน 14.9) ฉะนั้นในการที่จะเป็นอย่างผู้ชอบธรรมก็คือในการตามพระเยซู ในการทำเช่นนั้นเราจะเปลี่ยนแปลงให้เป็นเหมือนกับพระองค์ ผู้อื่นจึงสามารถเห็นพระคริสต์ในตัวเราได้
(2) เราควรมีชีวิตโดยธรรม ควรอธิษฐานเผื่อผู้มีอำนาจ เพื่อเราจะได้มีชีวิตในธรรม เปาโลพูดเรื่องการชอบธรรม เราควรละทิ้งการอธรรม และโลกียตัณหาและประกอบชีวิตอย่างธรรม เราควรเป็นคนของพระเจ้า
7. ความรักในระหว่างพวกพี่น้อง
คริสตจักรเป็นครอบครัวของพระเจ้า (1ติโมเธียว 3.15) ทุก ๆ คนเป็นสมาชิกในครอบครัวก็เป็นพี่น้องกัน ฉะนั้นเราควรรักซึ่งกันและกัน
(1) ความรักในระหว่างพวกพี่น้องรวมทั้งการแสดงความเมตตาต่อกัน สุภาพอ่อนโยน เรียบร้อย นุ่มนวล อารมณ์เยือกเย็นตรงข้ามกับแข็ง ดุร้าย และ ขมขื่น
(2) พระคัมภีร์พูดไว้อย่างไรเรื่องความเมตตา? "ความรักกระทำคุณให้" "ท่านทั้งหลายจงเมตตาซึ่งกันและกัน" (เอเฟโซ 4.32) "ท่านทั้งหลายจงสวมใจเมตตาปรานี" (โกโลซาย 3.12) "ฝ่ายผลของพระวิญญาณคือความปรานี" (ฆะลาเตีย 5.22)
(3) ในแง่ของความรักความเมตตา ควรใช้เป็นหลักปฏิบัติต่อกันในด้านถ้อยคำ (สุภาษิต 31.26) ในกิริยา และในการตัดสินใจหรือความคิด
8. ความรักในระหว่างคนทั่วไป
(1) คุณสมบัติอันนี้เป็นมงกุฎ "แต่ความรักนั้นเป็นใหญ่" (1โกรินโธ 13.7-13) เหนือสิ่งอื่นใดหมด เราควรมีความรักซึ่งกันและกัน
(2) 1โกรินโธ 13 เป็นบทแห่งความรักของพระคัมภีร์ ศึกษา 1โกรินโธ 13 พิจารณาดูความสำคัญ ลักษณะ ความถาวร เหนือสิ่งอื่นใดหมด
(3) ความรักกระทำกิจในแง่ใดบ้าง?
(ก) เราต้องรักพระเจ้า มัดธาย 22.37
(ข) รักคริสตจักร เอเฟโซ 5.25
(ค) รักพระคำของพระเจ้า 2เธซะโลนิเก 2.10
(ง) รักครอบครัว เอเฟโซ 5.23-33
(จ) รักพี่น้อง เฮ็บราย 13.1
(ฉ) ผู้หลงในความบาป โยฮัน 3.16
สรุป คุณสมบัติดังกล่าวที่คล้ายกันปรากฏอยู่ใน ฆะลาเตีย 5.22-23 เป็นหลักฐานยืนยันว่า ผู้ที่มีคุณสมบัติเหล่านั้น พระวิญญาณสถิตอยู่ด้วย โปรดระลึกว่าผู้ที่ประกอบด้วยคุณสมบัติเหล่านี้เป็นเครื่องประกันชีวิตนิรันดร์ในสวรรค์หรือนรก
(ข) เป็นผลของพระวิญญาณประการหนึ่ง ฆะลาเตีย 5.22-23
(ค) ทำให้ระวังรักษาตัวจนถึงวันที่จะได้รับรางวัล 1โกรินโธ 9.25-27
(3) แง่ที่การเหนี่ยวรั้งตนควรเป็นหลักปฏิบัติ เมื่อบุคคลโกรธ (เอเฟโซ 4.26) การใช้ลิ้น ผู้ที่ ขาดความสามารถในการเหนี่ยวรั้งตน ทำให้เป็นผู้ติดเหล้า, ไร้ศีลธรรม, คุมสติไม่ได้, คำพูดที่โกรธรวดเร็ว การกระทำที่รวดเร็ว
(4) จะปลูกฝังการเหนี่ยวรั้งตนได้อย่างไร?
(ก) ระงับให้อยู่ใต้บังคับ 1โกรินโธ 9.27
(ข) ดูการเหนี่ยวรั้งตนสัมพันธ์กับการพิพากษา กิจการ 24.25
(ค) ถ่อมตนเองลงจากบัลลังก์ มัดธาย 16.24
(ง) เชิญพระเยซูนั่งบนบัลลังก์แทน ฆะลาเตีย 2.20
(จ) คิดถึงผู้อื่น 1โกรินโธ 10.23-33
5. ขันตี
(1) ขันตี เป็นสิ่งจำเป็นของเรา (1ติโมเธียว 6.11)
(2) นิยามของคำว่า ขันตี หรือ ความอดทน เวปสเตอร์ให้คำจำกัดความว่า "ทนต่อการเจ็บปวด หรือทนต่อความลำบากอย่างสงบ หรือโดยไม่บ่น แสดงความอดทนภายใต้สภาวะความกดดัน ไม่ฉุนเฉียวหรือโพล่ง มั่นคงแม้ฝ่ายตรงข้ามจะต่อสู้หรือมีศัตรู มีความสามารถหรือเต็มใจที่จะอดทนได้" เราพบว่าพระเจ้าทรงเป็นตัวอย่างที่ดีในการอดทน พระเยซู (โรม 2.4, ยาโกโบ 5.11) ผู้พยากรณ์, โยบ, เปาโล, โยฮัน และคริสตจักรทั้งหลายในพระคัมภีร์ใหม่
(3) แง่ต่าง ๆ ที่เราต้องใช้ขันตีเป็นหลักปฏิบัติในชีวิตประจำวัน คือมีอะไรบ้าง ต้องอดทนต่อตนเอง (ลูกา 21.19) ในบ้านของเรา ในการนำวิญญาณ ในการถูกข่มเหง ในการลำบาก ในการอธิษฐาน และในการรอการเสด็จกลับมาของพระเยซู
6. ธรรม
(1) นี่หมายความว่า "เหมือนกับพระเจ้า" พระเยซูเป็นตัวแทนของพระเจ้า การเห็นพระเยซูก็เท่ากับเห็นพระเจ้า (โยฮัน 14.9) ฉะนั้นในการที่จะเป็นอย่างผู้ชอบธรรมก็คือในการตามพระเยซู ในการทำเช่นนั้นเราจะเปลี่ยนแปลงให้เป็นเหมือนกับพระองค์ ผู้อื่นจึงสามารถเห็นพระคริสต์ในตัวเราได้
(2) เราควรมีชีวิตโดยธรรม ควรอธิษฐานเผื่อผู้มีอำนาจ เพื่อเราจะได้มีชีวิตในธรรม เปาโลพูดเรื่องการชอบธรรม เราควรละทิ้งการอธรรม และโลกียตัณหาและประกอบชีวิตอย่างธรรม เราควรเป็นคนของพระเจ้า
7. ความรักในระหว่างพวกพี่น้อง
คริสตจักรเป็นครอบครัวของพระเจ้า (1ติโมเธียว 3.15) ทุก ๆ คนเป็นสมาชิกในครอบครัวก็เป็นพี่น้องกัน ฉะนั้นเราควรรักซึ่งกันและกัน
(1) ความรักในระหว่างพวกพี่น้องรวมทั้งการแสดงความเมตตาต่อกัน สุภาพอ่อนโยน เรียบร้อย นุ่มนวล อารมณ์เยือกเย็นตรงข้ามกับแข็ง ดุร้าย และ ขมขื่น
(2) พระคัมภีร์พูดไว้อย่างไรเรื่องความเมตตา? "ความรักกระทำคุณให้" "ท่านทั้งหลายจงเมตตาซึ่งกันและกัน" (เอเฟโซ 4.32) "ท่านทั้งหลายจงสวมใจเมตตาปรานี" (โกโลซาย 3.12) "ฝ่ายผลของพระวิญญาณคือความปรานี" (ฆะลาเตีย 5.22)
(3) ในแง่ของความรักความเมตตา ควรใช้เป็นหลักปฏิบัติต่อกันในด้านถ้อยคำ (สุภาษิต 31.26) ในกิริยา และในการตัดสินใจหรือความคิด
8. ความรักในระหว่างคนทั่วไป
(1) คุณสมบัติอันนี้เป็นมงกุฎ "แต่ความรักนั้นเป็นใหญ่" (1โกรินโธ 13.7-13) เหนือสิ่งอื่นใดหมด เราควรมีความรักซึ่งกันและกัน
(2) 1โกรินโธ 13 เป็นบทแห่งความรักของพระคัมภีร์ ศึกษา 1โกรินโธ 13 พิจารณาดูความสำคัญ ลักษณะ ความถาวร เหนือสิ่งอื่นใดหมด
(3) ความรักกระทำกิจในแง่ใดบ้าง?
(ก) เราต้องรักพระเจ้า มัดธาย 22.37
(ข) รักคริสตจักร เอเฟโซ 5.25
(ค) รักพระคำของพระเจ้า 2เธซะโลนิเก 2.10
(ง) รักครอบครัว เอเฟโซ 5.23-33
(จ) รักพี่น้อง เฮ็บราย 13.1
(ฉ) ผู้หลงในความบาป โยฮัน 3.16
สรุป คุณสมบัติดังกล่าวที่คล้ายกันปรากฏอยู่ใน ฆะลาเตีย 5.22-23 เป็นหลักฐานยืนยันว่า ผู้ที่มีคุณสมบัติเหล่านั้น พระวิญญาณสถิตอยู่ด้วย โปรดระลึกว่าผู้ที่ประกอบด้วยคุณสมบัติเหล่านี้เป็นเครื่องประกันชีวิตนิรันดร์ในสวรรค์หรือนรก